วันอาทิตย์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2553

เทคนิค +หัวใจ+ความรัก+เอาใจใส่ +ในการผลิตน้ำมันปาล์ม

ก่อนอื่นต้อง ขออภัย ผู้ที่พึ่งอ่านบทความ นะครับ จะเห็นว่า ผู้เขียน ลบบางตอนออก เพราะเนื่องจากผู้เขียนไป Coppy เนื้อหา ของ เว็บอื่นโดยไม่ได้ให้ เครดิต เขาไว้ ก็ต้อง ขออภัยเป็นอย่างสูง ในความรู้เท่าไม่ถึงการ นะครับ แต่ไม่ต้องเสียดาย การจะปลูกปาล์มในประเทศไทย นั้น ง่ายยิ่งกว่า ที่คุณคิด เพราะ ถ้าไปแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่า ภาครัฐ หรือเอกชน แล้ว เขาก็จะแห่ มาแนะนำและส่งเสริม ให้ท่านที่สนใจปลูก นะครับ แต่ มีอยู่ข้อนึงที่ ผู้เขียน ไปประชาสัมพันธ์ ที่ แปดริ้ว (ปี 2550) คนส่วนใหญ่ เขาจะกลัวว่า ต้นพันธ์เป็น ต้นพันธ์ ย้อมแมว หรือเปล่า หรือมาหลอกขาย ต้นพันธ์ กระผมจะบอกให้ นะคร้บ ว่า ถ้ากลัว ในกรณีที่ผมกล่าวมานี้ ให้ท่าน ไปทำการ สืบดูว่า บริษัทที่ขายปาล์มให้ท่าน นั้น เขามี โรงงาน ผลิตน้ำมันปาล์มหรือเปล่า อันนี้ รับรองได้ว่า ไม่โดนต้มแน่นอน เพราะพวกคนเหล่านี้เขา ต้องการวัตถุดิบปาล์ม ที่ขายให้เรา เพื่อที่จะรับซื้อทะลายปาล์มเขาโรงงาน ของเขาเอง หลักการนี้ใ้ช้ได้ครับ ไม่ต้องกลัว เอาล่ะ เข้าเรื่อง ซะที ในบทความนี้จะมาพูดเทคนิคในการผลิต น้ำมันปาล์ม แน่นอนครับ ไม่หลักสูตร การสอนที่ไหน หรอกครับ สำหรับปาล์ม เ่ท่าที่ผมได้ยินมาก็ มีแต่ อย่างนั่นแหละ ที่มีหลักสูตร การสอนเรื่องยาง แต่ไม่เป็นไร ผู้เขียน /ผม จะมาเล่า ให้ฟัง เอาเรื่องแรก ก่อน นะครับ
ขั้นต้นเรื่องการตรวจรับปาล์มสด เพื่อเตรียมเข้าผลิต ขอบอกว่าไม่หมูนะครับ อย่าพึ่งคิดว่าเป็นเรื่องตลก ขั้นแรก หัดศึกษาลักษณะปาล์ม ต่างที่เรารับซื้อ ตามที่ผู้เ่ขียนได้ เขียนไว้แล้ว ว่า ปาล์มที่คุณภาพดี เป็นลักษณะ อย่างไร (ว่ายาว แน่ๆ อย่าคิดว่าหมูนะ) ฉนั้นผุ้ที่ประกอบอาชีพ ตรงจุดนี้จะต้องรู้เรื่อง ดังนี้
1. ลักษณะปาล์ม
2.ลูกค้า
3.การบริหารพื้นที่
4.การจัดวาง
5.การประยุกต์
6.การอำนวยความสะดวก
7.การเจรจา
8.การยืดหยุ่นและ การพลิกวิกฤตเป็นโอกาส
9.ทักษะและเทคนิคของ ผู้ที่อยู่ประจำ ลานตรวจรับปาล์ม

พอเดาได้ไหม 9 ข้อ หมายความว่าอย่างไร ไว้ตามต่อนะครับ

ไม่มีความคิดเห็น: